การประชุม RM ครั้งที่ 1
   อ่านหน่อยเรื่องสำคัญของ RM
   2007 HA-Fort SURANARI
      Patient Safety Goals

   สมุดบันทึก 12 กิจกรรม
   มาทำความเข้าใจความเสี่ยงกันเถอะ
   Risk Management By Fact
   ความเสี่ยงและความปลอดภัย รพ.
   Trigger Tool for AE1

   วัฒนธรรมความปลอดภัย
   Trigger marker + Medical       record safety review       ในโรงพยาบาลค่ายสุรนาร
   ความรู้จากบอร์ด RM 1

   ความรู้จากบอร์ด RM 2
 
 

     แบบประเมิน Risk round
      (Safety Culture)

   สรุปผล Risk round' 48
   สรุปผล Risk round' 49
   สรุปผล Risk round' 50
   สรุปผลการเยี่ยมสำรวจความเสี่ยง
      โรงพยาบาล' 50

   สรุปผลการตรวจเยี่ยมหน่วยงาน
      NON-CLINIC 50


 
 


     ขั้นตอนการรายงานระบบความเสี่ยง      ใหม่ โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์
   สรุปรายงาน ใบ Occurrence
 
 



     สรุประบบบริหารความเสี่ยง
      และความปลอดภัย ประจำปี 2550

   ผลลัพธ์นโยบาย RM
   medical record safety
      review RM 50

   ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER
      TOOL
 

 
 
ขั้นตอนการรายงานระบบความเสี่ยงใหม่ โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์

          ขั้นตอนในการรายงานระบบความเสี่ยงใหม่ โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์
เปิดที่ folder L111
          จะเห็น folder risk report, folder risk summery
          ให้ copy  folder risk report ไปไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเอง
          เปิด copy  folder risk report ที่สำเนาไว้ แล้วจะพบ folder 2 อัน คือ
Folder แบบรายงานความเสี่ยง และ folder รับเรื่องความเสี่ยงรายวัน
ให้เปิด folder แบบรายงานความเสี่ยง จะพบ file word อยู่ 8 รายการ ดังนี้
                1)  การทบทวนเมื่อเกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยง (ฝ่าย back office) หน้าที่ 1 มีข้อมูล 1 หน้า
                2)  การทบทวนเมื่อเกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยง (ฝ่าย back office) หน้าที่ 2 มีข้อมูล 1 หน้า
                3)  บัญชีรายการความเสี่ยงของหน่วยงาน ... CLT ระบบงานมีข้อมูล 1 หน้า
                4)  บัญชีรายการความเสี่ยงสูงระดับ รพ. ที่ทีม CEO บริหารจัดการ มีข้อมูล 1 หน้า
                5)  แบบรายงาน rapid response team และ trigger ความเสี่ยงหน่วยงาน … CLT มีข้อมูล 1 หน้า
                6)  แบบรายงานความคลาดเคลื่อนทางยา สารน้ำ โรงพยาบาลค่ายสุรนารี มีข้อมูล 3 หน้า
                7)  แบบรายงานความเสี่ยงทาง clinic ที่พบในโรคที่มีความเสี่ยงสูงของ CLT มีข้อมูล 1 หน้า
                8)  แบบรายงานอุบัติการณ์ (ฝ่ายรักษาและฝ่ายสนับสนุนการบริการ) มีข้อมูล 1 หน้า
                9)  การทบทวนการเกิดอุบัติการณ์ทาง clinic โดยหน่วยงานต่างๆ มีข้อมูล 1 หน้า

                ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาว่าจะลงข้อมูลในรายงานแบบไหนบ้าง โดยหลักควรพิจารณาเอกสารทั้ง 9 รายการ และลงข้อมูลในหน้าเอกสารนั้นๆ โดยขั้นตอนมีดังนี้

                1) ให้สำเนาเอกสารทั้ง 9 ฉบับ เป็นต้นแบบ แล้วใช้ฉบับที่สำเนาลงข้อมูล ในคอมพิวเตอร์โดยตรง และ save ชื่อ (ข้อแนะนำในการตั้งชื่อ ควรเขียนชื่อหน่วยงานตนเอง และวันที่มาด้วย และบอกฉบับที่ด้วย เช่น อุบัติการณ์ห้องผ่าตัด ฉบับที่ 1 วันที่ 14 ก.ย. 52) เพื่อป้องกันการสับสน และให้ save  ข้อมูลใน folder ของหน่วย เพื่อเป็นหลักฐานของตนเอง ว่าได้รายงานแล้ว และขอให้หน่วยสำเนาเอกสารนี้มาที่ folder กลาง ในเรื่อง risk report ที่ folder รับเรื่องความเสี่ยงรายวัน


Copyright 2007 Fort Suranari Hospital